Monday, November 25, 2013

ทอ.มองหาเครื่องบินมาทดแทนเครื่องบิน L-39ZA/ART

กองทัพอากาศกำลังมองหาเครื่องบินรุ่นใหม่มาทดแทนเครื่องบินฝึกและโจมตี Aero L-39ZA/ART Albatros” ที่จัดซื้อมาจากสาธารณรัฐเชคเมื่อปี พ.. 2537 จำนวน 36 เครื่อง
L39ZA/ART
เครื่องบินฝึกและโจมตี L-39ZA/ART นั้นเป็นรุ่นเฉพาะที่มีเพียงประเทศไทยเป็นผู้ใช้ มันก็คือเครื่องบินรุ่น L-39ZA ที่ใช้อุปกรณ์มาตรฐานตามแบบชาติตะวันตก และใช้อุปกรณ์ควบคุมการบินของ Elbit (อิสราเอล)


ปัจจุบันประจำการอยู่ที่ ฝูงบิน 401 กองบิน นครสวรรค์ จำนวน 18 เครื่อง 
   


และ ฝูงบิน 411 กองบิน 41 เชียงใหม่ จำนวน 18 เครื่อง


ขอนำคุณลักษณะของรุ่น
L-39Cมาแสดงเป็นแนวทาง เพื่อจะได้เอาไว้เปรียบเทียบกับเครื่องที่จะมาทดแทน
Aero L-39C Albatros
General characteristics

  • Crew: 2
  • Length: 12.13 m (39 ft 9½ in)
  • Wingspan: 9.46 m (31 ft 0½ in)
  • Height: 4.77 m (15 ft 7¾ in)
  • Wing area: 18.8 m² (202 ft²)
  • Airfoil: NACA 64A012 mod
  • Empty weight: 3,455 kg (7,617 lb)
  • Max. takeoff weight: 4,700 kg (10,362 lb)
  • Powerplant: 1 × Ivchenko AI-25TL turbofan, 16.87 kN (3,792 lbf)
Performance
  • Never exceed speed: Mach 0.80 (609 mph, 980 km/h)
  • Maximum speed: 750 km/h (405 knots, 466 mph) at 5,000 m (16,400 ft)
  • Range: 1,100 km (593 nmi, 683 mi)(internal fuel)
1,750 km, (944 nmi, 1,087 mi) (internal and external fuel)
  • Endurance: 2 hr 30 min (internal fuel), 3 hr 50 min (internal and external fuel)
  • Service ceiling: 11,000 m (36,100 ft)
  • Rate of climb: 13.5 m/s (4,130 ft/min)
  • Wing loading: 250.0 kg/m² (51.3 lb/ft²)
  • Thrust/weight: 0.37
  • Climb to 5,000 m (16,400 ft): 5 min
  • Take-off roll: 530 m (1,740 ft)
  • Landing roll: 650 m (2,140 ft)
Armament
  • Up to 284 kg (626 lb) of stores on two external hardpoints
  • 2× wingtip fuel tanks

Asian Military Review รายงานว่ามีเครื่องบิน 3 แบบที่มีน่าจะมีโอกาสได้รับการคัดเลือก นั่นคือ
  1. KAI(Korea Aerospace Industries) T-50 Golden Eagle (เกาหลีใต้)
  2. Alenia Aermacchi M-346 (อิตาลีและรัสเซีย)
  3. Hongdu L-15 (จีน)


ลองพิจารณาดูเครื่องบินแต่ละรุ่นกัน
T-50 Golden Eagle
KAI T-50 Golden Eagle
General characteristics
  • Crew: 2
  • Length: 13.14 m (43.1 ft)
  • Wingspan: 9.45 m) (with wingtip missiles) (31 ft)
  • Height: 4.94 m (16.2 ft)
  • Empty weight: 6,470 kg (14,285 lb)
  • Max takeoff weight: 12,300 kg (27,300 lb)
  • Powerplant: General Electric F404 (built under license by Samsung Techwin )afterburning turbofan
    • Dry thrust: 53.07 kN (11,925 lbf)
    • Thrust with afterburner: 78.7 kN (17,700 lbf)
Performance
  • Maximum speed: 1,770 km/h, 1,100 mph at 3,000 m or 10,000 ft (Mach 1.5)
  • Range: 1,851 km (1,150 mi)
  • Service ceiling: 14,630 m (48,000 ft)
  • Rate of climb: 11,887 m/min (39,000 ft/min)
  • Thrust/weight: 0.96
  • Max g limit: -3 g / +8 g
Armament
Avionics
  • AN/APG-67 (T-50)
  • EL/M-2032 (TA-50 and FA-50)
  • Lockheed Martin Advanced Avionics
M-346
Alenia Aermacchi M-346
General characteristics
  • Crew: two, student and instructor
  • Length: 11.49 m (37.70 ft)
  • Wingspan: 9.72 m (31.89 ft)
  • Height: 4.76 m (16.11 ft)
  • Wing area: 23.52 m² (253.2 ft²)
  • Empty weight: 4,610 kg (10,165 lb)
  • Loaded weight: 6,700 kg (14,770 lb)
  • Max. takeoff weight: 9,500 kg (20,945 lb)
  • Powerplant: 2 × Honeywell F124-GA-200, 28 kN (6,250 lbf) each
Performance
  • Never exceed speed: Mach 1.2 (1,092 km/h, 590 knots)
  • Maximum speed: 1,059 km/h (572 knots)
  • Stall speed: 176 km/h (95 knots)
  • Range: 1,981 km (1,070 nautical miles)
  • Ferry range: 2,722 km(1,470 nmi); with 3 external drop tanks
  • Endurance: 2.75 hours (4 hours with external drop tanks)
  • Service ceiling: 13,716 m (45,000 ft)
  • Rate of climb: 6,705 m/min (22,000 ft/min)
  • Wing loading: 285 kg/m² (58.3 lb/ft²)
  • Thrust/weight: 0.84

Armament
  • Hardpoints: Provisions provided for a total of 9 pylon stations (2× wingtip, 1× under-fuselage plus 6× underwing), capable of mounting up to 3,000 kilograms (6,600 lb) of external payload and up to 3× 630 litres (140 imp gal; 170 US gal) external drop tanks (only pylon stations 4, 5, 6 are wet-plumbed)


L-15
Hongdu L-15
General characteristics
  • Crew: 2
  • Length: 40.256 feet (12.27 m)
  • Wingspan: 31.1 feet (9.48 m)
  • Height: 15.78 feet (4.81 m)
  • Empty weight: 9,920 lb (4,500 kg)
  • Loaded weight: 14,300 lb (6,500 kg)
  • Max. takeoff weight: 20,900 lb (9,500 kg)
  • Powerplant: 2 × Ivchenko Progress AI-222K-25 for AJT condition, Ivchenko Progress AI-222K-25Fafterburning turbofans for LIFT condition
Performance
  • Maximum speed: Mach 1.4 (924.1 mph)
  • Combat radius: Over 550+ km (More than 340+ miles)
  • Ferry range: 3,100 km(1926 miles)
  • Service ceiling: 52500 feet (16,000 m)
  • Rate of climb: >39370 ft/min (afterburning) (>200 m/s)

ตารางเปรียบเทียบเครื่องบินทั้ง 3 แบบที่มีโอกาสจะมาทดแทนเครื่องบิน L-39ZA/ART









L-39C KAI T-50 M-346 L-15

นักบิน 2 2 2 2

ความยาว (เมตร) 12.13 13.14 11.49 12.27

ปีกกว้าง (เมตร) 9.46 9.45 9.72 9.48

ความสูง (เมตร) 4.77 4.94 4.76 4.81

พื้นที่ปีก (ตร.ม.) 18.8
23.52


น้ำหนักเปล่า (กก.) 3,455 6,470 4,610 4,500

น้ำหนักขึ้นบินสูงสุด (กก.) 4,700 12,300 9,500 9,500

จำนวนเครื่องยนต์ 1 1 2 2

สามารถทำความเร็วสูงสุด (มัค) 0.8
1.2 1.4

ความเร็วสูงสุด (กม./ชม.) 750 1,770 1,059 1,715

พิสัยบิน (กม.) 1,100 1,851 1,981 3,100

บินได้นาน (ชม.) 2.3
2.75
2


เพดานบิน (เมตร) 11,000 14,630 13,716 16,000

อัตราการไต่ระดับ 810ม./นาที 11,887ม./นาที 6,705ม./นาที >12,000ม./นาที(เมื่อใช้สันดาบท้าย)

ปีกรองรับน้ำหนัก (กก./ตร.ม.) 250
285









ราคาต่อลำ US$0.3M US$21M US$21 US$10M

ประเทศผลิตเครื่องยนต์ Russia's engine American's engine American's engine Ukraine's engine







หมายเหตุ : เนื่องจาก L-39ZA/ART ของไทยเป็นรุ่นที่ปรับปรุงตามมาตรฐานตะวันตกดังนั้นเครื่องยนต์จึงน่าจะใช้ของอเมริกา รวมทั้งอุปกรณ์อื่นที่ติดตั้ง ดังนั้นราคาจึงจะต้องสูงกว่า L-39C อันเป็นรุ่นมาตรฐานอย่างแน่นอน ด้วยเหตุนี้ผู้อ่านจะต้องใช้วิจารณญาณในการอ่านควบคุ่กันไปด้วย
อัพเดท L-39ZA/ART เป็นรุ่นที่ปรับปรุงแค่ระบบควบคุมการบินตามมาตรฐานตะวันตกโดยประเทศอิสราเอลแต่เพียงเท่านั้น เครื่องยนต์เป็นรุ่น Al-25TL
9 กรกฏาคม พ.ศ.2558 พลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข องคมนตรี เป็นประธานในพิธีมอบเครื่องยนต์แบบ AI-25TL ซึ่งใช้กับเครื่องบินขับไล่และฝึกแบบที่ ๑ (L-39 ZA/ART) ที่ได้รับการผ่าแสดงภายในเพื่อใช้ในการศึกษาระบบการทำงานของเครื่องยนต์ไอพ่น ให้แก่ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ตามโครงการกองทุนการศึกษา โดยพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี

เมื่อพิจารณาดูในภาพรวมแล้ว เครื่องบิน L-15 ของจีน น่าจะเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจที่สุดเพราะสมรรถนะของเครื่องบินก็มีความสามารถทัดเทียมกับของเกาหลีใต้และอิตาลี อีกทั้งเครื่องยนต์ก็เป็นเครื่องยนต์ที่ประเทศยูเครนผลิต ก็น่าจะมีเป็นประเด็นได้อีก เพราะไทยอาจจะของให้ยูเครนถ่ายทอดเทคโนโลยี่ให้ได้เนื่องจากเรามีความตกลงร่วมมือทางทหารกันอยู่
ส่วนสิ่งสำคัญที่สุดอีกประการหนึ่งก็คือ ราคาของเครื่องบิน HongduL-15 ถูกกว่าเครื่องบินอีกสองแบบครึ่งเท่าตัว

อย่างไรก็ตามไ่ม่มีรายละเอียดในข้อมูลของราคาเครื่องบินว่ารวมอุปกรณ์อะไรบ้างหรือไม่อย่างไร อีกทั้งในการจัดซื้อนั้นจะมีปัจจัยด้านอื่นๆ ประกอบอีกไม่ใช่แค่ในเรื่องราคาอย่างเดียว

สำหรับบทความต่อไปนั้นจะนำเรื่องของเครื่องบิน Hongdu L-15 มานำเสนอในรายละเีอียดกัน

No comments:

Post a Comment